เคอร์คิวมินอยด์ ใน ขมิ้นชัน

  • ช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคมะเร็ง

โดยมีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่มากกว่าวิตามินอี อย่างน้อย 50 เท่า ซึ่งสารอนุมูลอิสระนี้เองเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเร็งผิวหนัง และมะเร็งลำไส้

โดยสามารถป้องกันสารเคมี ยาฆ่าแมลงเช่น ดีดีที และไดอ๊อกซิน ไม่ให้เข้าสู่เซลล์ร่างกาย ซึ่งสารเคมีเหล่านี้เองเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง

  • ช่วยส่งเสริมการรักษาโรคมะเร็งให้ได้ผลดีขึ้น สำหรับผู้ป่วยที่รักษาในขั้นเคมีบำบัด โดยป้องกันสารที่ใช้ในเคมีบำบัดไม่ให้ไปทำร้ายเซลล์ที่ดี และเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการรักษาด้วยเคมีบำบัด
  • ช่วยให้ผิวพรรณมีสุขภาพดี และป้องกันโรคผิวหนัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคกลากที่เกิดจากเชื้อรา
  • ช่วยป้องกันตับอักเสบ เนื่องจากสารพิษ โดยมีคุณสมบัติในการล้างพิษในตับตามธรรมชาติ และเนื่องจากตับ เป็นแหล่งกำเนิดของน้ำย่อยหลายชนิด จึงเป็นกระบวนการในการลดอาการจุกเสียดทางอ้อม
  • ช่วยลดระดับคลอเรสเตอรอลที่สูง (High cholesterol) และเผาผลาญไขมันในร่างกาย (Fat Burn)
  • ช่วยป้องกันโรคความจำเสื่อม (Alzheimer’s) โดยยับยั้งการก่อเกิดเอนไซม์ acetyl-cholinesterase ที่ทำลายเซลสมอง
  • ช่วยลดอาการตื่นเต้น (Anti-inflammatory) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคหัวใจ

ประโยชน์เยอะ / ความนิยมน้อย

  • คนจำนวนมากตระหนักถึงคุณวิเศษของ “ขมิ้นชัน” แต่ทำไมจึงไม่บริโภคกัน ถ้าจะว่าประโยชน์น้อยคงไม่ใช่ แต่น่าจะมาจากกลิ่นเฉพาะตัวที่รุนแรงทั้งขณะบริโภคและหลังบริโภค, มาตรฐานความสะอาด, รวมไปถึงการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของ “เคอร์คิวมินอยด์” ทำได้น้อย เนื่องจาก “เคอร์คิวมินอยด์” ละลายได้ดืในไขมัน จึงต้องบริโภคในปริมาณมาก ถ้าจะให้เกิดประโยชน์ทางการรักษาอย่างแท้จริง
  • ดังนั้น จึงมีการคิดค้นวิธีการต่างๆเพื่อให้บริโภคง่าย และเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึม “เคอร์คิวมินอยด์” เข้าสู่ร่างกายได้ดีขึ้น วิธีหนึ่งที่ได้ผลคือ การทำให้ “เคอร์คูมินอยด์” ละลายน้ำได้

curcuminoidheart

แหล่งที่มา

  1. Shishodia, S., et al. “Curcumin: Getting Back to the Roots,” N.Y. Acad. Sci.: 1056, 206-217, 2005.
  2. Bharat, B.A., et al. “Curcumin–Biological and Medicinal Properties,” Turmeric: The genus Curcuma; Medicinal and aromatic plants–industrial profiles, edited by Ravindran, P.N., et al. Boca Raton, FL: CRC Press, 2007.
  3. Kotwal, G.J., et al. Natural Products and Molecular Therapy, First International Conference. New York, NY: Annals of the New York Academy of Sciences, Vol. 1056, 2005.
  4. Anand, P., et al. “Bioavailability of Curcumin: Problems and Promises,” Pharmaceutics: 2007, 4(6), pp. 807-818: www.pubs.acs.org/doi/~. (Cytokine Research Laboratory and Pharmaceutical Development Center, Department of Experimental Therapeutics, The University of Texas M.D. Anderson Cancer Center, Houston, Texas.)
  5. a b Shoba G; Joy D; Joseph T; Majeed M; Rajendran R; Srinivas PS (May 1998). “Influence of piperine on the pharmacokinetics of curcumin in animals and human volunteers”. Planta Med 64 (4): 353–6. doi:10.1055/s-2006-957450PMID 9619120
  6. KHOPDE, S.M., K.I. PRIYADARSINI, P. VENKATESAN, etal. 1999. Free radical scavenging ability and antioxidant efficiency of curcumin and its substituted analogue. Biophysics. Chemical. 80: 85-91
  7. Cronin, J.R. “Curcumin: Old spice is a new medicine.” Journal of Alternative & Complementary Therapies: Feb. 2003, pp. 34-38.
  8. Sarker, S.D., et al. “Bioactivity of Turmeric,” Turmeric: The genus Curcuma; Medicinal and aromatic plants–industrial profiles, edited by Ravindran, P.N., et al. Boca Raton, FL: CRC Press, 2007.
  9. Cheng, A.L., et al. “Phase I clinical trial of curcumin, a chemoprotective agent, in patients with high-risk or pre-malignant lesions. Anti-cancer Res. 2001; July-Aug 21:2895-2900: www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11712783?dopt=Abstract
รู้ให้ชัด ประโยชน์ของ เคอร์คิวมินอยด์ ใน ขมิ้นชัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *